วานิลลา (Vanilla fragrans) อยู่ในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) และเป็นพืชพื้นเมืองแถบอเมริกากลางและใต้ ซึ่งเป็นที่ที่ใช้วานิลลาเป็นกลิ่นปรุงรสมาตั้งแต่สมัยอารยธรรมแอซเท็คและมายา การปลูกต้นวานิลลาจะปลูกแบบการปลูกไวน์ คือ ปลูกอยู่บนต้นไม้ที่เป็นที่อาศัยของกาฝาก และต้นวานิลลานี้จะมีความยาวได้ถึง 30 เมตร
ปัจจุบันนี้เราสามารถหาวานิลลาได้จากแหล่งต่าง ๆ นอกจากแถบอเมริกากลางได้ที่บริเวณรียูเนี่ยนและมาดากัสการ์ อินโดนีเซีย ศรีลังกา และตาฮิติ ซึ่งสถานที่เหล่านี้มีสภาพอากาศเหมาะสมกับการผลิตวานิลลาเพื่อการค้า
โดยปกติแล้ววานิลลาที่ทำการเพาะปลูกจะต้องได้รับการผสมเกสรจากมนุษย์ด้วยมือ ดอกของวานิลลาค่อนข้างสวยงามและมีความบอบบาง ส่วนที่ทำให้เกิดกลิ่นและรสชาติจริง ๆ ของพืชชนิดนี้อยู่ที่ส่วนของผล หรือฝักวานิลลา (ซึ่งบางครั้งเรียกว่า วานิลลาบีน) ที่มีความยาว 10 - 25 ซม. ซึ่งจะได้มาจากการนำผล (ฝัก) ของวานิลลาไปหมักและบ่ม
ชาวยุโรปเริ่มรู้จักวานิลลาจากชาวสเปน นอกจากนั้นยังมีความเกี่ยวข้องกับธรรมเนียมปฏิบัติที่โด่งดังในเรื่องการดื่มชอคโกแลต ซึ่งเป็นประเพณีของทางอเมริกากลางและใต้ โดยชาวยุโรปจะดื่มนมแทนการดื่มน้ำ และราว ๆ ปลายศตวรรษที่ 19 มีการผลิตชอคโกแลตนมแท่งขึ้น การใช้วานิลลาให้ความหวานและกลิ่นหอมกำลังเป็นที่แพร่หลายอย่างกว้างขวางในการทำอาหารแบบตะวันตก โดยนิยมใช้กันมากที่สุดในการทำไอศครีมวานิลลา
การสังเคราะห์วานิลลาให้มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการนั้นกระทำได้ยาก ส่งผลให้วานิลลาที่ได้จากการสังเคราะห์มีคุณภาพไม่เทียบเท่ากับวานิลลาได้ที่มาจากธรรมชาติ
กระบวนการในการทำวานิลลานั้นค่อนข้างยุ่งยากต้องใช้กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ ซึ่งกินระยะเวลานานหลายเดือนทำให้วานิลลาเป็นเครื่องเทศที่มีราคาแพงที่สุด ถึงแม้ว่าจะมีการใช้วานิลลากันอย่างแพร่หลายแล้วก็ตาม
วานิลลาของประเทศศรีลังกาเป็นที่ต้องการของโลกเรามาโดยตลอด ต้นวานิลลาของทัชวู๊ดจะให้ผลตอบแทนแก่ลูกค้าหลังจากปีที่ 4 จนถึงปีที่ 20 โดยโครงการนี้ได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ประเทศศรีลังกา (BOI) ด้วย
ปัจจุบันนี้เราสามารถหาวานิลลาได้จากแหล่งต่าง ๆ นอกจากแถบอเมริกากลางได้ที่บริเวณรียูเนี่ยนและมาดากัสการ์ อินโดนีเซีย ศรีลังกา และตาฮิติ ซึ่งสถานที่เหล่านี้มีสภาพอากาศเหมาะสมกับการผลิตวานิลลาเพื่อการค้า
โดยปกติแล้ววานิลลาที่ทำการเพาะปลูกจะต้องได้รับการผสมเกสรจากมนุษย์ด้วยมือ ดอกของวานิลลาค่อนข้างสวยงามและมีความบอบบาง ส่วนที่ทำให้เกิดกลิ่นและรสชาติจริง ๆ ของพืชชนิดนี้อยู่ที่ส่วนของผล หรือฝักวานิลลา (ซึ่งบางครั้งเรียกว่า วานิลลาบีน) ที่มีความยาว 10 - 25 ซม. ซึ่งจะได้มาจากการนำผล (ฝัก) ของวานิลลาไปหมักและบ่ม
ชาวยุโรปเริ่มรู้จักวานิลลาจากชาวสเปน นอกจากนั้นยังมีความเกี่ยวข้องกับธรรมเนียมปฏิบัติที่โด่งดังในเรื่องการดื่มชอคโกแลต ซึ่งเป็นประเพณีของทางอเมริกากลางและใต้ โดยชาวยุโรปจะดื่มนมแทนการดื่มน้ำ และราว ๆ ปลายศตวรรษที่ 19 มีการผลิตชอคโกแลตนมแท่งขึ้น การใช้วานิลลาให้ความหวานและกลิ่นหอมกำลังเป็นที่แพร่หลายอย่างกว้างขวางในการทำอาหารแบบตะวันตก โดยนิยมใช้กันมากที่สุดในการทำไอศครีมวานิลลา
การสังเคราะห์วานิลลาให้มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการนั้นกระทำได้ยาก ส่งผลให้วานิลลาที่ได้จากการสังเคราะห์มีคุณภาพไม่เทียบเท่ากับวานิลลาได้ที่มาจากธรรมชาติ
กระบวนการในการทำวานิลลานั้นค่อนข้างยุ่งยากต้องใช้กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ ซึ่งกินระยะเวลานานหลายเดือนทำให้วานิลลาเป็นเครื่องเทศที่มีราคาแพงที่สุด ถึงแม้ว่าจะมีการใช้วานิลลากันอย่างแพร่หลายแล้วก็ตาม
วานิลลาของประเทศศรีลังกาเป็นที่ต้องการของโลกเรามาโดยตลอด ต้นวานิลลาของทัชวู๊ดจะให้ผลตอบแทนแก่ลูกค้าหลังจากปีที่ 4 จนถึงปีที่ 20 โดยโครงการนี้ได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ประเทศศรีลังกา (BOI) ด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น